SJSS    Details 
 SJSS  

Details of the article

 English language learning motivation of Thai undergraduate students in the globalized era -
  Authors (ผู้แต่ง): Daranee Choomthong and Chudapak Chaichompoo
  Date (วันที่): 15 มกราคม 2559 (11:12:18)
  Article Types (ประเภทบทความ): Article
  Keywords (คำค้น): English language learning,motivation,instrumental motivation,integrative motivation,English for Occupational,Purposes(EOP)
  Abstract (บทคัดย่อ):
This study addresses the types and levels of English language learning motivation integrative or instrumental) of Thai undergraduate students in a university in Chiang Mai,Thailand. The participants were 1475 first-year students, enrolling Foundation English course II during the second semester of the academic year 2013. The data collection instruments used in this study were a questionnaire, using a six-point Likert scale,which was adapted from Gardner’s Attitude/ Motivation Test Battery (AMTB) (2004)and a semi-structured interview. The results indicated that the students’ integrative and instrumental motivation was high. Their instrumental motivation was found slightly higher than their integrative motivation. Interestingly, it was found that English major students had significantly higher level of integrative motivation than non-English major students. However, the findings revealed that English major students are slightly more instrumentally motivated than integratively motivated. Some pedagogical implications, course design and how globalization comes into play are discussed with their recommendations.
บทความวิจัยฉบับนี้มุ่งศึกษาชนิดและระดับของแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษ (แรงจูงใจเชิงบูรณาการ และแรงจูงใจเชิงเครื่องมือ) ของนักศึกษาปริญญาตรี ในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย ผู้เข้าร่วมในการตอบแบบสอบถามและสัมภาษณ์คือนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ที่กำลังศึกษาวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน II ช่วงภาคเรียนที่ 2 ภาคการศึกษา 2556 จำนวน 1475 คน เครื่องมือในการเก็บข้อมูลได้แก่ แบบสอบถามแบบ 6 ระดับของ Likert ซึ่งพัฒนาจากงานของ Gardner’s Attitude/ Motivation Test Battery (AMTB) (2004) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ผลจากการวิจัยฉบับนี้พบว่านักศึกษามีระดับแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษเชิงเครื่องมือและเชิงบูรณาการในระดับสูง โดยพบว่าแรงจูงใจเชิงเครื่องมืออยู่ในระดับสูงกว่าแรงจูงใจเชิงบูรณาการ เล็กน้อย โดยเป็นที่น่าสนใจว่านักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษมีระดับแรงจูงใจเชิงบูรณาการสูงกว่านักศึกษาสาขาวิชาอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตามพบว่านักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษมีแรงจูงใจเชิงเครื่องมือสูงกว่าแรงจูงใจเชิงบูรณาการเพียงเล็กน้อยผู้วิจัยได้อภิปรายและเสนอแนะแนวทางข้อค้นพบที่ได้จากงานวิจัยฉบับนี้ รวมถึงแรงใจในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษในยุคโลกาภิวัตน์ เพื่อออกแบบวิชาเรียนให้สอดคล้องกับแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษา
  PDF File
 
Volume : 2015/2
 
  วันที่เพิ่มบทความ : 15/01/2559 (11:12:18) 
  วันที่แก้ไขล่าสุด : 15/01/2559 (11:21:15) 
  วันที่เข้าชมล่าสุด : 24/04/2567 (11:37:45) 
  จำนวนผู้เข้าชม : 1670  ครั้ง